^^ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บล๊อกศึกษาเรื่อง "ระบบเอทีเอ็ม" ^^

ยินดีต้อนรับเข้าสู่บล๊อกประกอบสื่อการเรียนรู้ในเรื่อง "ระบบเอทีเอ็ม" โดยได้ทำการสร้างโดยนักเรียนโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกมัธยม จังหวัดเชียงใหม่ ระดับชั้นมัธยมสึกษาปีที่ 4 ช่วงชั้นที่ 3 ห้อง 8 เลขที่ 4,14,24,34,44,54 โดยทางคณะผู้จัดทำได้สนใจในเรื่องระบบการทำงานต่างๆในตู้ เอทีเอ็ม จึงได้ริเริ่มทำการค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อทำการศึกษาเพือให้ได้ทราบถึงระบบการทำงานของ ตู้เอทีเอ็ม จนไขปัญหาข้องใจต่างๆได้ จึงคิดอยากที่จะเผยแพร่ให้ผู้ที่กำลังสนใจในเรื่องนี้ ทางคณะผู้จัดทำได้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าบล็อกๆนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่กำลัง ศึกษา หรือสนใจ ในเรื่องนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดทางผูจัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
(หมายเหตุ ข้อมูลในบล็อกนี้ได้ถูกค้าคว้ามาจากเว็บภายนอกแล้วนำมาเรียบเรียงใหม่)

วันจันทร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2553

@.@ลักษณะการทำงานของ ATM @.@

ATMเป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่ง ข้อมูลสูงมากๆข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็กๆเรียกว่าส "เซลล์( cell )" มีขนาด 53 ไบต์ ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (Payload) ขนาด 48 ไบต์ และส่วนหัว (Header) ขนาด 5 ไบต์ ส่วนหัวจะเก็บข้อมุลที่จำเป็นต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่งเช่น จุดหมายปลายทางระดับความสำคัญของเซลล์นั้น

โดยจะประกอบด้วย

VPI(Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier) ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (Virtual Circuit) ในการเดินทางให้กับเซลล์นั้น

HFC (Header Eror Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบเซลล์ ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ ในการมัลติเพล็กซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัวแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และ เติมส่วนหัวเข้าไปอีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ตามเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้ตรงส่วนหัว เมื่อถึงปลายทางก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่ เหมือนเดิม ลัษณะของ ATM นี้ จะคล้ายกับเครือข่าย Packet-switching อื่น ๆ ที่มีอยู่เช่น x.25 หรือ Frame Relay แตกต่างกันที่ ATM จะมีขนาด Pack เล็กและคงที่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น